เขียนโดย
Pangiz
ความคิดเห็น (0)
Shell
เป็นตัวกลางระหว่าง user กับ os
Unix
-Bourne Shell ขึ้นมา เป็น shell มาตรฐาน ใช้งานทั่วๆไป เช่นคำสั่งเรียกดู directory คำสั่ง copy
-Korn Shell ทำให้เราสามารถ กดลูกศรขึ้นได้ ถ้าต้องการเรียกใช้คำสั่งเก่า
-C Shell เป็น shell ที่ใช้งานกับภาษาc โดยเฉพาะ เพื่อให้สะดวกในการใช้งานภาษา C
Linux
-Batch Shell มาจาก Bourne again Shell คือ Bourn shell + Korn shell
File System
/ หมายถึง root คือเป็นรากของต้นไม้ เพราะใน linux เป็นแบบ hierarchical โดยทุกๆอย่างที่ติดต่อกับ linux linux จะปฎิบัติกับมันเป็นเพียง file หนึ่งเท่านั้น
Disk Partition
-Mandatory (จำเป็น ขาดไม่ได้)partition ที่จำเป็น มี root partition ใช้การเก็บจ้อมูลทั่วๆไปใน linux ทั้งหมด(Os)Swap partition เป็น virtual memory(หน่วยความจำเสมือน) และจะต้องเป็น partition mแยกออกมาต่างหาก ขนาดของ swap partition จะตายตัว ไม่ค่อยยืดหยุ่น/boot เก็บข้อมูลเกี่ยวกับการ boot os
-Optional (มีหรือไม่มีก็ได้)Usr partiotion ใช้เก็บพวกโปรแกรมต่างๆที่ user จะต้องใช้ Home partition ใช้เก็บข้อมูลส่วนตัวของ user ทั้งหลายซึ่งทั้งสองอย่างไม่เกี่ยวกับ Os ถ้าเราหวงข้อมูลพวกนี้ เราก็เก็บแยกเอาไว้ต่างหาก แต่ธรรมดาแล้วมันจะอยู่ภายใน root partition
Command line Syntax
Command_name [-option] [argumentคือ คำสั่งนี้จะไปทำงานกับอะไรจะเป็นพวกชื่อไฟล์หรือ directory]
**Linux เป็น Case sensitive
Basic Command
-date บอกวัน เวลา ปัจจุบัน-date –u บอกวัน เวลาปัจจุบันของ GMT-cal บอกปฎิทินวันที่ปัจจุบัน-cal 1 (1เป็นปี ค.ศ. ที่เราต้องการดู)
-cal 7 2008(7เป็นเดือน 2008เป็นปี)
-cal –j เพื่อบอกว่าวันนี้เป็นวันที่เท่าไหร่ของปี
-who ดูว่าใครที่ออนไลน์อยู่ในตอนนี้บ้าง ใน server เดียวกับเรา
-who –H เพื่อที่จะโชว์ header ของแต่ละcolumn
-who –I แต่ละคนมี ideal time เป็นเท่าไหร่ คือเวลาที่ว่างไม่ได้พิมพ์command
-who –q จะโชว์ quick list รายชื่อของคนที่ออนไลน์ขึ้นมา
-who am I เพื่อดูว่าตอนนี้เรากำลังใช้ user อะไรอยู่-clear เพื่อล้างหน้าจอ
-man ย่อมาจาก manual (online manual) คู่มือออนไลน์ ใช้เมื่อเราต้องการรู้ว่าคำสั่งนี้ใช้ทำอะไร เช่น man date เพื่อบอกว่า คำสั่ง date ใช้ทำงานอะไร เมื่อเราดู manual กด enter เพื่อเลื่อนลง 1 บรรทัด กด spacebar เพื่อเลื่อนลง 1 หน้าจอ และกด q เพื่อ exit ออก
-whatis … เป็นการสรุปบอกสั้นๆว่าแต่ละคำสั่งใช้ทำอะไร เช่น whatis man , whatis date
**ถ้าต้องการใช้หลายๆคำสั่งใน command line เดียว เราสามารถใช้ ; ในการแยกคำสั่งออกจากกัน เช่น cal ; date ก็จะแสดงผลลัพธ์ของ cal กับ date ต่อกันมาตามลำดับ , cal 6 2009 ; date –u
Redirect output
คือการเปลี่ยนเป้าหมายของผลลัพธ์ โดยใช้เครื่องหมาย (>) เช่น cal 2009 > lab1-1, date –u > lab1-2
การเรียกดูไฟล์
-cat เป็นคำสั่งเรียกดูไฟล์ เช่น cat lab1-1 ดูว่าเราเก็บอะไรไว้อยู่ ข้อเสีย คือไม่สามารถขึ้นไปดูหัวไฟล์ได้
-more ดูไฟล์ตั้งแต่ต้นหัวไฟล์ จนค่อยๆลงมาเรื่อยๆได้ เช่น more lab1-1 ข้อเสีย คือ ย้อนกลับขึ้นไปดูข้างบนไม่ได้ ลงได้ทางเดียว
-less ถ้าดูเลยมาแล้วสามารถที่จะย้อนกลับมาได้ ใช้ลูกศรเลื่อนขึ้นลงได้ ออกจากคำสั่งได้โดยการ กด q เช่น less lab1-1
** CTRL+Z สามารถออกมาที่ command prompt ได้เสมอ
-head เป็นการโชว์เฉพาะในส่วนของ header เช่น head lab1-1 คือให้โชว์ 10 บรรทัดแรกของไฟล์นั้น
-head –nจำนวนบรรทัด ชื่อไฟล์ หรือ head -จำนวนบรรทัด ชื่อไฟล์ เช่น head –n3 lab1-1เป็นการบอกให้ show 3 บรรทัดแรก
-tail เป็นการให้โชว์ในส่วนของหางในไฟล์ เช่น tail lab1-1 โชว์10 บรรทัดสุดท้าย
-tail –nจำนวนบรรทัด ชื่อไฟล์ เช่น tail –n3 lab1-1 เป็นการโชว์ 3 บรรทัดสุดท้ายของไฟล์
เป็นตัวกลางระหว่าง user กับ os
Unix
-Bourne Shell ขึ้นมา เป็น shell มาตรฐาน ใช้งานทั่วๆไป เช่นคำสั่งเรียกดู directory คำสั่ง copy
-Korn Shell ทำให้เราสามารถ กดลูกศรขึ้นได้ ถ้าต้องการเรียกใช้คำสั่งเก่า
-C Shell เป็น shell ที่ใช้งานกับภาษาc โดยเฉพาะ เพื่อให้สะดวกในการใช้งานภาษา C
Linux
-Batch Shell มาจาก Bourne again Shell คือ Bourn shell + Korn shell
File System
/ หมายถึง root คือเป็นรากของต้นไม้ เพราะใน linux เป็นแบบ hierarchical โดยทุกๆอย่างที่ติดต่อกับ linux linux จะปฎิบัติกับมันเป็นเพียง file หนึ่งเท่านั้น
Disk Partition
-Mandatory (จำเป็น ขาดไม่ได้)partition ที่จำเป็น มี root partition ใช้การเก็บจ้อมูลทั่วๆไปใน linux ทั้งหมด(Os)Swap partition เป็น virtual memory(หน่วยความจำเสมือน) และจะต้องเป็น partition mแยกออกมาต่างหาก ขนาดของ swap partition จะตายตัว ไม่ค่อยยืดหยุ่น/boot เก็บข้อมูลเกี่ยวกับการ boot os
-Optional (มีหรือไม่มีก็ได้)Usr partiotion ใช้เก็บพวกโปรแกรมต่างๆที่ user จะต้องใช้ Home partition ใช้เก็บข้อมูลส่วนตัวของ user ทั้งหลายซึ่งทั้งสองอย่างไม่เกี่ยวกับ Os ถ้าเราหวงข้อมูลพวกนี้ เราก็เก็บแยกเอาไว้ต่างหาก แต่ธรรมดาแล้วมันจะอยู่ภายใน root partition
Command line Syntax
Command_name [-option] [argumentคือ คำสั่งนี้จะไปทำงานกับอะไรจะเป็นพวกชื่อไฟล์หรือ directory]
**Linux เป็น Case sensitive
Basic Command
-date บอกวัน เวลา ปัจจุบัน-date –u บอกวัน เวลาปัจจุบันของ GMT-cal บอกปฎิทินวันที่ปัจจุบัน-cal 1 (1เป็นปี ค.ศ. ที่เราต้องการดู)
-cal 7 2008(7เป็นเดือน 2008เป็นปี)
-cal –j เพื่อบอกว่าวันนี้เป็นวันที่เท่าไหร่ของปี
-who ดูว่าใครที่ออนไลน์อยู่ในตอนนี้บ้าง ใน server เดียวกับเรา
-who –H เพื่อที่จะโชว์ header ของแต่ละcolumn
-who –I แต่ละคนมี ideal time เป็นเท่าไหร่ คือเวลาที่ว่างไม่ได้พิมพ์command
-who –q จะโชว์ quick list รายชื่อของคนที่ออนไลน์ขึ้นมา
-who am I เพื่อดูว่าตอนนี้เรากำลังใช้ user อะไรอยู่-clear เพื่อล้างหน้าจอ
-man ย่อมาจาก manual (online manual) คู่มือออนไลน์ ใช้เมื่อเราต้องการรู้ว่าคำสั่งนี้ใช้ทำอะไร เช่น man date เพื่อบอกว่า คำสั่ง date ใช้ทำงานอะไร เมื่อเราดู manual กด enter เพื่อเลื่อนลง 1 บรรทัด กด spacebar เพื่อเลื่อนลง 1 หน้าจอ และกด q เพื่อ exit ออก
-whatis … เป็นการสรุปบอกสั้นๆว่าแต่ละคำสั่งใช้ทำอะไร เช่น whatis man , whatis date
**ถ้าต้องการใช้หลายๆคำสั่งใน command line เดียว เราสามารถใช้ ; ในการแยกคำสั่งออกจากกัน เช่น cal ; date ก็จะแสดงผลลัพธ์ของ cal กับ date ต่อกันมาตามลำดับ , cal 6 2009 ; date –u
Redirect output
คือการเปลี่ยนเป้าหมายของผลลัพธ์ โดยใช้เครื่องหมาย (>) เช่น cal 2009 > lab1-1, date –u > lab1-2
การเรียกดูไฟล์
-cat เป็นคำสั่งเรียกดูไฟล์ เช่น cat lab1-1 ดูว่าเราเก็บอะไรไว้อยู่ ข้อเสีย คือไม่สามารถขึ้นไปดูหัวไฟล์ได้
-more ดูไฟล์ตั้งแต่ต้นหัวไฟล์ จนค่อยๆลงมาเรื่อยๆได้ เช่น more lab1-1 ข้อเสีย คือ ย้อนกลับขึ้นไปดูข้างบนไม่ได้ ลงได้ทางเดียว
-less ถ้าดูเลยมาแล้วสามารถที่จะย้อนกลับมาได้ ใช้ลูกศรเลื่อนขึ้นลงได้ ออกจากคำสั่งได้โดยการ กด q เช่น less lab1-1
** CTRL+Z สามารถออกมาที่ command prompt ได้เสมอ
-head เป็นการโชว์เฉพาะในส่วนของ header เช่น head lab1-1 คือให้โชว์ 10 บรรทัดแรกของไฟล์นั้น
-head –nจำนวนบรรทัด ชื่อไฟล์ หรือ head -จำนวนบรรทัด ชื่อไฟล์ เช่น head –n3 lab1-1เป็นการบอกให้ show 3 บรรทัดแรก
-tail เป็นการให้โชว์ในส่วนของหางในไฟล์ เช่น tail lab1-1 โชว์10 บรรทัดสุดท้าย
-tail –nจำนวนบรรทัด ชื่อไฟล์ เช่น tail –n3 lab1-1 เป็นการโชว์ 3 บรรทัดสุดท้ายของไฟล์
เขียนโดย
Pangiz
ความคิดเห็น (0)
ถ้าเราใช้ os อยู่ตัวนึง แล้วเราลง os อีกตัวใน vmware(ในที่นี้ Main Os คือ Window vista และ Guest Os ใน VMware คือ Edubuntu ) เมื่อเราต้องการที่จะสลับการใช้งานระหว่าง os จริงกับ os ใน vmware เราจะต้องกด CTRL+ALT ตลอดเลยหรือไม่ ?
** ไม่จำเป็นคะ เราสามารถลง VMware tools ได้คะ
แล้ว VMware tools มันคืออะไร ?
** อย่างที่บอกก็คือ เวลาเราจะสลับการทำงานกันระหว่าง os ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องกด CTRL+ALT เพียงแค่ลากเม้าส์มาก็สามารถสลับการทำงานได้เลย
** อย่างที่สองก็คือในเรื่องของ File Transfer เราสามารถจะส่งไฟล์ระหว่าง os โดยการกดที่ไฟล์ตัวนั้นแล้วลากออกมานอก VMware ได้เลย
วิธีการติดตั้ง VMware tools
... เราจะต้องเข้าไปใน user ที่เป็น admin
1. System > ดูแลระบบ > ตัวจัดการ package synaptic พิมพ์ที่ Quick search ว่า open-vmware กดเลือก open-vmware-tools กับ open-vmware-toolbox แล้ว install
2. กดที่ menu bar เลือก vm > install vmware Tools
3. เมื่อกดเสร็จแล้วก็ให้ install ก็จะมี file แบบในรูป
4. ภายในไฟล์รูปที่ 3 จะมี่ folder อยู่ข้างในอีกสอง folder
5. ให้เราลากไฟล์ .tar.gz ไปไว้ที่ desktop
6. คลิกขาวที่ file นั้น แล้วทำการ extract here
7. ให้เปิด terminal ขึ้นมา โดยไปที่ applications > เครื่องใช้ไม้สอย > เทอร์มินัล
8.
8.
9. ใช้คำสั่ง sudo ในการ install vmware-install.pl
10. หลังจากนั้นไม่ว่าจะถามอะไร ให้กด enter ตลอด จนจบ
11. ให้ shutdown แล้วลองเข้ามาใหม่อีกครั้ง ก็จะสามารถลาก cursor ออกมาได้โดยไม่ต้องกด CTRL+ALT เป็นอันเสร็จเรียบร้อยแล้วคะ
ป้ายกำกับ:
vmware tools edubuntu ubuntu
เขียนโดย
Pangiz
ความคิดเห็น (0)
การแสดงความคิดเห็น/ถามข้อสงสัย
1. กดที่ แสดงความคิดเห็น
2.พิมพ์ข้อความในสิ่งที่ต้องการถาม
3.แสดงความคิดเห็นในฐานะ
สามารถเลือกได้ (เลือกเพียงวิธีเดียว)
Gmail >> ถ้าคุณมี e-mail ของ gmail อยู่แล้วให้ login ด้วย gmail ก็จะสามารถ แสดงความคิดเห็นได้ แต่ถ้ายังไม่มี สมัครได้ที่ www.gmail.com/ (เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด)
LiveJournal >> ถ้าคุณมี blog ของ http://www.livejournal.com/
wordPress >> ถ้าคุณมี blog ของ http://wordpress.org/
Typepad >> ถ้าคุณมี blog ของ http://www.typepad.com/
AIM >> ถ้าคุณมี AOL Instant Messenger ของ http://dashboard.aim.com/aim
OpenID >> (OpenID เป็นระบบหนึ่งที่ทำให้เราสามารถใช้ URL เป็นข้อมูลระบุตัวตน (Identity) ที่เราสามารถใช้ลงชื่อ (Sign in หรือ Log in) เข้าสู่เวบไซต์ต่างๆ ที่เปิดรับมาตรฐาน OpenID นี้ได้ โดยที่เราไม่ต้องสมัครเป็นสมาชิกของแต่ละเวบไซต์ทุกครั้ง ประโยชน์ก็คือ เราไม่ต้องจำชื่อและรหัสผ่านของเราในแต่ละเวบไซต์ จึงเพิ่มความสะดวกแก่ผู้ใช้)
4.กดส่งความคิดเห็น
5.ถ้าต้องการติดตามผลเมื่อมีคนมาตอบทาง e-mail ให้กดเลือก สมัครรับข้อมูลทางอีเมล
เขียนโดย
Pangiz
ความคิดเห็น (1)
วิธีการติดตั้งเครื่อง printer บน Ubuntu ?
-->> แค่เสียบสาย printer เข้ากับคอม แล้วจะมีรูป printer เด้งขึ้นมา ให้เรากด add printer แล้วตัว ubuntu มันจะหา driver ให้เองโดยอัตโนมัติ ก้สามารถใช้ได้เลยคะ
ระบบจะเห็นเครื่อง printer ที่ share อยู่บน server เลยเหรอ ?
--> ใช่คะ แต่ว่าจะต้องเป็น network วงเดียวกัน แล้วเราก็ add printer ตามวิธีที่บอกในเรื่องที่แล้วได้เลยคะ
แล้ว IP ของ server ก็คงต้อง fix ด้วยไหม ?
--> ไม่จำเป็นคะ เพราะถึงแม้ว่า ip จะเปลี่ยนไปแต่ก็ยังอยู่เนตเวิร์กวงเดียวกันอยู่ดี เพราะฉะนั้นเราไม่จำเป็นต้องใช้ ip เบอร์เดิม
-->> แค่เสียบสาย printer เข้ากับคอม แล้วจะมีรูป printer เด้งขึ้นมา ให้เรากด add printer แล้วตัว ubuntu มันจะหา driver ให้เองโดยอัตโนมัติ ก้สามารถใช้ได้เลยคะ
ระบบจะเห็นเครื่อง printer ที่ share อยู่บน server เลยเหรอ ?
--> ใช่คะ แต่ว่าจะต้องเป็น network วงเดียวกัน แล้วเราก็ add printer ตามวิธีที่บอกในเรื่องที่แล้วได้เลยคะ
แล้ว IP ของ server ก็คงต้อง fix ด้วยไหม ?
--> ไม่จำเป็นคะ เพราะถึงแม้ว่า ip จะเปลี่ยนไปแต่ก็ยังอยู่เนตเวิร์กวงเดียวกันอยู่ดี เพราะฉะนั้นเราไม่จำเป็นต้องใช้ ip เบอร์เดิม
เขียนโดย
Pangiz
ความคิดเห็น (1)
การทำ printer sharing จุดประสงค์เพื่อต้องการให้มีการมีการแชร์เครื่องปริ้นเตอร์ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้ไม่มีการเชื่อมต่อกับเครื่องปริ้นเตอร์ ซึ่งการ configuration จะประกอบด้วยสองฝั่ง คือ ฝั่ง client และ server
ฝั่งที่เป็น server เป็นฝั่งที่ต้องต่อกับเครื่องปริ้นเตอร์
จากนั้นฝั่ง client เราไปที่ System> Administration> Printing การที่จะconfiguration ฝั่งที่เป็น server ต้องมีการเปิดเครื่องไว้ด้วย
จากนั้นเลือก รุ่นเครื่องปริ้นที่ฝั่ง server ที่มีการเชื่อมต่ออยู่ จากกนั้นกดปุ่ม forward
จากนั้นมาใส่ชื่อให้กับตัวเครื่องปริ้นเตอร์ที่เราเพิ่มให้กับระบบปฎิบัติการนะครับ จากนั้นกด Apply
เมื่อเสร็จแล้วจะมี icon ขึ้นมาซึ่งตอนนี้ฝั่งที่เป็นเครื่อง client สามารถปริ้นเอกสารได้แล้วโดยที่เครื่อง server ต้องเปิดเครื่องไว้ด้วย
ฝั่งที่เป็น server เป็นฝั่งที่ต้องต่อกับเครื่องปริ้นเตอร์
ส่วนของ server จะต้องมีการติดต่อกับเครื่องปริ้นเตอร์ด้วยและมีการการติดตั้ง driver printer ลงกับเครื่องที่เป็น server ด้วยเมื่อติดตั้ง driver printer เสร็จแล้ว จากนั้น ให้เปิดตัวเบาว์เซอร์ fire fox หรือโปรแกรมที่สามารถเปิด url ได้ขึ้นมา พอขึ้นมาแล้วในช่อง url พิมพ์คำว่า localhost:631/admin เพื่อที่จะเข้าไป configuration หน้า administration ของเครื่องปริ้นเตอร์
จากนั้นทำการเลือกที่ช่อง Share published printers connected to this system และ Allow printer from the Internet จากนั้นก็ทำการกด Change Settings
จากนั้นรอสักครู่ระบบจะทำการเปลี่ยนแปลงค่า Configuration
จากนั้นฝั่ง client เราไปที่ System> Administration> Printing การที่จะconfiguration ฝั่งที่เป็น server ต้องมีการเปิดเครื่องไว้ด้วย
จากนั้นกด New เพื่อทำการเพิ่มเครื่องปริ้นเตอร์ จากการที่เราเปิดให้แชร์เครื่องปริ้นเตอร์จากฝั่ง server
จากนั้นเลือก รุ่นเครื่องปริ้นที่ฝั่ง server ที่มีการเชื่อมต่ออยู่ จากกนั้นกดปุ่ม forward
จากนั้นมาใส่ชื่อให้กับตัวเครื่องปริ้นเตอร์ที่เราเพิ่มให้กับระบบปฎิบัติการนะครับ จากนั้นกด Apply
เมื่อเสร็จแล้วจะมี icon ขึ้นมาซึ่งตอนนี้ฝั่งที่เป็นเครื่อง client สามารถปริ้นเอกสารได้แล้วโดยที่เครื่อง server ต้องเปิดเครื่องไว้ด้วย
ป้ายกำกับ:
manual printer sharing linux ubuntu
เขียนโดย
Pangiz
ความคิดเห็น (0)
สำหรับคนที่ไม่เคยใช้ OpenOffice มาก่อน อยากจะแนะนำ website ที่สอนการใช้ OpenOffice และส่วนที่สำคัญต่างๆ และสามารถเข้าไปถามปัญหาเกี่ยวกับ OpenOffice ได้ ทั้ง OpenOffice.org OpenOffice.org Writer OpenOffice.org Calc OpenOffice.org Impress OpenOffice.org Base OpenOffice.org Draw OpenOffice.org Math
เขียนโดย
Pangiz
ความคิดเห็น (0)
ซอฟท์แวร์ OpenOffice 3 ในเวอร์ชั่นใหม่นี้จะสามารถรองรับการสนับสนุนไฟล์รูปแบบ Microsoft Office 2007 ด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ไฟล์รูปแบบ .docx, .xisx และ .pptx นั้น จะยังคงอ่านได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ไม่สามารถทำการแก้ไขได้ แต่เมื่อเราแก้ไขแล้ว เราสามารถเลือก save เป็น .doc ได้ ก็จะได้ไฟล์ใหม่เเยกออกมาอีกไฟล์นึง นอกจากนี้ ยังได้เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ Mac โดยสามารถติดตั้งและรันได้เหมือนๆกับแอปพลิเคชั่นทั่วๆไปได้
ป้ายกำกับ:
OpenOficce3.0 มีอะไรใหม่ feature